
1.แสดงออกชัดเจนว่าไม่ให้ยืมเ งิน
วิธีรับมือเพื่อนยืมเ งิน วิธีแรกบอกให้ชัดเจนไปเลยว่า
ไม่ให้ใครยืมเ งิน ตั้งแต่ต้น ไม่ว่าจะเป็นเพื่อน
หรือญาติพี่น้อง เมื่อเราชัดเจนว่า ไม่ให้ยืมเงิ น
ตั้งแต่แรก มันก็ง่ายที่จะปฏิเสธ โดยไม่จำเป็น
ต้องมีข้ออ้าง หรือเหตุผลอะไรอีก วิธีนี้เหมาะกับคน
ที่มีวินัยในการใช้ชีวิตระดับหนึ่งนะคะ
คือพึ่งพาตัวเองเป็นรู้จักดูแลตัวเอง เพราะถ้าเราไม่ให้ใครยืม
เราก็ไม่ควรจะไปยืมเงิ น หรือไหว้วานคนอื่นเช่นกันค่ะ
2.พูดตรงๆและสั้นๆ
ตอนที่บอกปฏิเสธเพื่อน ยืมเงิ น ไม่ต้องอธิบายสถานะ ทางการเงิ นของคุณ
เช่น ตอนนี้ฉันมีแพลน ใช้เงิ นเรียนต่อโท ด้านบริหารธุรกิจ ฉันจะเอาเงิ น
ไปศัลยกร รมที่เกาหลีฯลฯ ไม่ให้ก็คือไม่ให้ คนยืมเ งินอย ากได้ แค่เงิ น
ถ้าไม่ได้เงิ น ก็ไม่ได้ต้องอธิบายอะไรทั้งนั้น และเป็นสิทธิของเราด้วย
ที่จะไม่พูด แต่ถ้ากลัวว่า บทสนทนา จะตัดรอนกันเกินไป
ลองปฏิเสธแบบสุภาพแบบนี้ดูค่ะ “ฉันไม่มีเงิ นพอ ให้ใครยืมได้เลยช่วงนี้”
“ฉันไม่ค่อยสบายใจ เรื่องการให้ยืมเงิ นน่ะ”“ขอโทษนะ
แต่ให้ยืมไม่ได้จริงๆ” ประโยคเหล่านี้ ตรงไปตรงมา
แต่ไม่หย าบไม่ห้วน ไม่ตัดรอน จนเกินไป และไม่ได้เปิดช่อง
ให้คนมาขอยืมเงิ นได้อีกด้วยในอนาคต ให้จำไว้เสมอว่า
มันเป็นเงิ นของคุณ คุณไม่จำเป็น ต้องอธิบายสถานะ
หรือวิธีการใช้เงิ นของคุณกับใคร
โดยเฉพาะคนที่จะยืมเ งินของคุณ
3.ขอเวลาตัดสินใจ
บางกรณีก็ย ากจริงๆ ที่จะพูดว่าให้ยืมเงิ น ไม่ได้เช่น
เพื่อนสนิทญาติ หรือคนในครอบครัว ที่ต้องเจอหน้ากันทุกวัน
ถ้ารู้สึกโดนต้อนจนจนมุมมากๆ ลอง“ขอเวลา”คนยืมเงิ นว่า
ขอฉันคิดดูก่อนนะ การยืมเงิ นเป็นเรื่องใหญ่ค่ะ
พวกเขาเองก็รู้ดี ไม่งั้นคงไม่บากหน้ามา ขอยืมเงิ น
ถ้าคนมีมารย าทจริงๆ จะเข้าใจว่า คนถูกยืม
มีสิทธิคิดได้ว่า จะให้ยืมเ งินดีหรือไม่ แต่ถ้าคุณพูดว่า
ขอคิดดูก่อน นั่นหมายถึงการเปิดโอกาส การให้ความหวัง
คนที่ยืมนะคะ ดังนั้นต้องบอกพวกเขาด้วยว่า ขอเวลานานแค่ไหน
แล้วกลับไปคิดจริงๆว่า มีเ งินพอจะให้ยืมหรือไม่
ให้เวลายืมได้นานแค่ไหน แล้วถ้าเขา ยืมเงิ นไม่คืน
มีผลกระทบกับความสัมพันธ์แค่ไหนด้วย
4.เสนอความช่วยเหลือในรูปแบบอื่น
นอกจากพูดว่า “ไม่” เราสามารถช่วยเหลือเพื่อน ยืมเงิ น
หรือคนที่มายืมเงิ น ในรูปแบบอื่นได้ เช่น ถ้าพวกเขา
ไม่มีเ งินเพราะไม่มีงานทำ ก็ช่วยหางาน ให้พวกเขาทำ
ทำอาหารเผื่อพวกเขา พวกเขาจะได้ประหยัดเงิ น
ค่าอาหาร หรือหาวิธีกู้เ งินวิธีอื่น ให้พวกเขาแทน
เช่น กู้เงิ นธนาคารเป็นต้น แต่ส่วนใหญ่แล้ว
คนที่มาขอยืมเงิ นเรา ถ้าไม่ได้เ งิน
พวกเขาอาจจะไม่ได้ต้องการวิธี หรือความช่วยเหลือแบบอื่น
ดูท่าทีของพวกเขา ก่อนจะให้คำแนะนำด้วย
5.ให้ยืมแบบไม่หวังได้คืน
ถ้าจนแล้วจนรอด ยังไงก็รู้สึกว่า เพื่อนยืมเงิ น หรือคนยืมเ งิน
คนนี้เราต้องช่วยจริงๆ ไม่ให้ไม่ได้จริงๆ ลองหาวิธีให้แบบ
ที่เราคิดเสียว่า ให้เงิ นเป็นของขวัญ ไปเลย เช่น ใกล้วันเกิด
ของเพื่อนยืมเงิ น หรือคนยืมเ งินคนนี้ ก็ให้เงิ นเขา ยืม
แล้วก็บอกเขาไปเลยว่า งั้นให้เป็นของขวัญวันเกิดแล้วกันนะ
หรืออาจจะให้เป็นบัตรของขวัญวอยส์เชอร์
ซื้อของในซูเปอร์มาร์เก็ต พวกเขาจะได้เก็บเงิ นไปใช้จ่ายด้านอื่น
ที่จำเป็นมากกว่าแทนวิธีนี้ เป็นวิธีการช่วยเรื่องเ งิน
ที่ลดความกระดาก อายระหว่างกันได้มากเลยทีเดียวค่ะ
6.ไม่เปิดเผยข้อมูลทางการเงิ นของตัวเอง
ถ้าต้องการลดแรงกดดัน หรือโอกาสที่เพื่อนยืมเงิ น
จะแวะมาเยี่ยมเยียนคุณ การไม่เที่ยวบอกใครว่า
ได้เงิ นเดือนเท่าไหร่ มีเงิ นเก็บที่ไหนบ้าง มีทรัพย์สิน
หนี้สินเท่าไหร่ และอย่างไร คือสิ่งที่คุณควรทำ
ถ้ามีใครถามเรื่องเงิ น อาจจะพูดแบบกลางๆว่า
“ก็พออยู่ได้จ้ะ”หรือ“พอมีพอกินเฉยๆ”ไม่ต้องบอกตัวเลขโต้งๆว่า
มีเงิ นสำรองฉุกเฉินในบัญชี สามล้านบาท เพราะมันจะกลายเป็นสัญญา
ทางสังคมรอบตัวคุณอย่างหนึ่งทันที ว่าเ งินฉุกเฉินนี้ อาจหมายถึง
พอให้เพื่อนยืมเงิ นอ ย่างฉุกเฉินก็เป็นได้ ก่อนจากกัน จำไว้อย่างหนึ่งว่า
เรื่องเงิ นไม่เข้าใครออกใคร ไม่ว่าจะเป็นคนใกล้ตัว หรือไกลตัว
ดังนั้นถ้าไม่อย ากเจอเคส เพื่อนยืมเงิ นไม่คืน ก็อย่าด่วนปากเร็ว
ตัดสินใจเร็ว และให้ใครยืมเงิ น ทุกครั้งควรเก็บหลักฐาน เช่น
อัดคลิปเสียงวิดีโอหรือเซ็นสัญญายืมเงิ นทุกครั้ง
ที่มา shopback