
ใครในที่นี้ เจอเหตุการณ์แบบนี้บ้าง ขอให้ยกมือขึ้นสูงๆ ตั้งแต่วิกฤต
เศรษฐกิจที่แย่ลง แล้วยังไม่พอ ต้องมาเจอวิกฤตโ รคระบ าดครั้งใหญ่
ระดับโลกอย่างไวรัสโควิด–19 ที่ทำให้เศรษฐกิจทั้งโลกต้องหยุดชะงัก
และยังกระทบเป็นลูกโซ่ มาถึงการจ้างงาน ของบริษัทต่างๆด้วยนโยบาย
จากภาครัฐที่ต้องสั่งปิดสถานที่เสี่ยงต่างๆ การทำงานที่ต้องทำงาน
จากที่บ้าน ลดการเคลื่อนย้ายของคน และการรวมกลุ่ม ที่อาจก่อให้เกิด
โร คจากไวรัสโควิด–19ได้ และอื่นๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป ณ วินาทีนี้
ซึ่งถือว่าเป็นมาตรการ ที่ทำให้ประชาชน รู้สึกปลอดภัยด้านสุขภาพมากขึ้น
ระดับหนึ่งแต่ในอีกมุมหนึ่ง คือไม่มีใครตอบได้ว่า วิกฤตการณ์นี้
จะอยู่กับเราไปอีกนานเท่าไร หลายๆงดจ้างพนักงานในช่วงนี้บ้าง
หรือบางบริษัทก็ต้องปิดกิจการถาวรไปบ้าง ส่งผลให้หลายคน
ได้พักจากงานกันในช่วงนี้ ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมตัวพร้อม
รับสถานการณ์ในทุกๆวัน ที่ไม่รู้ว่าจะดีขึ้นแย่ลง หรือจะเจอเคอร์ฟิว
วันไหน ในตอนนี้เราจึงควรวางแผน การใช้จ่าย และการออมเ งิน
อย่างละเอียดรอบคอบ แม้ว่ามีเงิ นแค่ 5,000 บาทต่อเดือน
ก็สามารถใช้จ่ายกินอยู่ได้ทั้งเดือน แถมมีเงิ นเหลือเก็บ
พร้อมรับทุกสถานการณ์อีกด้วย วันนี้เราเลยมีทริคเล็กๆน้อยๆ
ในการวางแผนใช้จ่าย และออมเงิ นมาฝากกัน
1.แบ่งเงิ นออกเป็นส่วนๆ
ถ้าจะใช้จ่าย 4,000 บาท และต้องการออมประมาณ 1,000 บาท
ให้ทำการแยกฝากในธนาคาร ที่ให้ดอ กเบี้ยสูง และทำการถอน
ค่อนข้างย าก(ไม่มีบัตรATM) ยกตัวอย่างเช่น บัญชีฝาก
ไม่ประจำของ TMB ที่ให้ดอ กเบี้ย 1.3% และสามารถถอนได้
เดือนละ 2 ครั้งเป็นต้น
2.แบ่งเงิ นซื้อของที่จำเป็น
แบ่งเงิ นประมาณ 1,000 บาท นำไปซื้อเครื่องอุปโภค บริโภค
และของที่จำเป็นต้องใช้ เช่น บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปไข่ไก่
ปลากระป๋องข้าวสาร โจ๊กซอง กาแฟซอสปรุงรส
สบู่แชมพูย าสระผม ย าสีฟั น แปรงสีฟั น ผงซักฟอก
น้ำย าปรับผ้านุ่ม น้ำย าล้างจาน น้ำย าถูพื้น
และน้ำกดจากตู้หยอดเหรียญ (ควรต้มน้ำก่อนนำมาดื่ม)
ที่สำคัญอย่าลืม อุปกรณ์ป้องกันไวรัสโควิด – 19
อย่างหน้ากากอนามัยแบบผ้า และแอลกอฮอล์
ล้างมือเท่านี้ เราก็จะเหลือเ งินใช้ได้อีก 3,000 บาท
3.คำนวณเ งินที่ต้องใช้ต่อวัน
จากนั้นก็นำเ งิน ที่เหลือมาหาร จำนวนวัน เช่น 3,000 หาร ด้วย 31 = 96บาท
เท่ากับว่าเรามีเงิ นใช้อยู่วันละ 96 บาท ให้ทำการแยกเ งิน เป็นรายวัน
ใส่ถุงซิปล็อค หรือสร้างวินัยพกเ งินใส่กระเป๋า วันละ 96 บาท
เท่านั้นหากเ งินเหลือ จากการใช้ในวันนั้น ให้เก็บทันที
จะไม่ทบไปเป็นของวันใหม่ และเมื่อครบ 1 เดือน
ก็นำไปฝากธนาคาร พร้อมกับเงิ นของเดือนใหม่
4.จดบันทึก
สร้างวินัยในการใช้จ่าย ด้วยการจดบันทึกรายรับรายจ่าย อย่างละเอียด
เพื่อลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น การที่เราเห็น เป็นรูปธรรมว่า เงิ นที่จ่ายออกไป
ตรงไหนบ้าง ที่จริงๆ เราไม่จ่ายก็ได้ จะทำให้เราตระหนัก
ในการใช้เงิ นมากขึ้น
5.เริ่มศึกษาการลงทุนในรูปแบบต่างๆ
เพื่อทำให้เงิ นงอกเงย เพราะเมื่อถึงช่วงที่สถานการณ์
กลับมาเป็นปกติ แล้วเราก็จะมีความรู้ และสามารถ
เลือกลงทุนในหน่วยลงทุน ที่เรารับความเสี่ยงได้
และแถมมีโอกาส ทำให้เ งินงอกเงย เพิ่มขึ้นอีกด้วยนะ